วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

[Article] Digestive Enzymes and Enzyme Therapy


[Article] Digestive Enzymes and Enzyme Therapy
By Brigitte Mars

In 1878, Willy Kuhne, a German physician, philosopher, and physiology professor, coined the word enzyme to indicate a biocatalyst outside the living cell. Enzymes are “living sparks,” a delicate animated force needed for life and every chemical action and reaction in the body, as well as in plants and animals.

Enzymes are made of tiny proteins, or amino acids. Enzymes help synthesize, join together, and duplicate entire chains of amino acids. Minerals, vitamins, and hormones cannot work without their presence. Breathing, blinking, circulation, sleeping, eating, digestion, nutrient absorption, thinking, moving, working, growing, blood coagulation, immunity, dreaming, sexual activity, excitement, reproduction, and sensory perception are all dependent on metabolic enzymes.
The three main sources of enzymes

The three main sources of enzymes include food enzymes, digestive enzymes and metabolic enzymes.

Enzymes that we ingest are called exogenous enzymes, meaning they come from an outside source. Exogenous enzymes help in the digestion of the foods in which they are contained. Light, heat, and pressure can deactivate them. In fact, enzymes begin being destroyed at temperatures exceeding 114 degrees Fahrenheit. In other words, they are destroyed in all cooked foods. When raw food is consumed, its enzymes assist in the preliminary digestive process, so that a large portion of the meal is partially digested before it reaches the lower stomach, and fewer endogenous enzymes and acids are needed.



For years nutritionists were taught that exogenous enzymes had no more value than their amino acid content, because stomach acid would break down the enzymes before they could be absorbed. That is no longer believed. When food is consumed, acid secretion is very low for the first thirty minutes at least. As food sits in the upper section of the stomach, the exogenous enzymes aid in their own digestion, which enables the body to do less work later. After 30 to 45 minutes, the bottom portion of the stomach opens, and the body secretes endogenous enzymes and acids. Yet, even here, exogenous enzymes are not inactivated until the acid level becomes prohibitive (which takes up to an hour). Therefore, enzymes do survive many aspects of digestion.

Enzymes made by the human body are endogenous and also referred to as digestive enzymes. They use nutrients from food, which get absorbed by the blood stream to repair the body and remove worn-out material. They operate in all tissues, organs, and cells and are essential for all bodily activity. These occur naturally in the body, are produced mainly in the pancreas, and to some degree in the stomach and small intestines. Their function is to break down carbohydrates, fats and proteins into more available nutrients.

A decrease in the quantity and quality of our endogenous enzymes is a natural result of aging. However, the typical Western lifestyle depletes the body of enzymes, thus rushing us headlong toward premature aging. Cooked food, alcohol, drugs, tobacco, carcinogenic exposure, radiation, excessive sunlight, chlorine, fluoride, many medications, and stimulants draw enzymes from our limited endogenous supply, as the body must produce more endogenous enzymes in order to process those substances.

Examples of digestive enzymes include:

Protease: breaks down protein chains into smaller amino acid chains and finally into individual amino acids. Proteases are found in the stomach and small intestines and include trypsin, chymotrypsin, peptidases, elastases, and cathepsins. Proteases are inhibited by alkaline factors such as sugars, starches, and fats.

Amylolytic enzymes (also known as amylases) are found in high concentrations in the mouth, saliva, and small intestines. Amylases help digest carbohydrates, including sucrose, maltose, and fructose.

Lipolytic enzymes (also known as lipases) are produced by the gastric juices of the stomach lining and the small intestines. Lipases digest fats, including triglycerides, phospholipids, and sterols such as cholesterol by converting them into fatty acids and glycerol. Lipases are found in high levels in mother’s milk but not in pasteurized milk or canned formulas, as pasteurization destroys lipases. Without lipases, fats are hard to digest and more likely to cause weight gain.

Lactase: breaks down milk sugars

Cellulase breaks down the bonds that occur in fibrous foods.

Enzymes cannot be synthetically reproduced. (Most of the pharmaceutical enzymes available are derived from pigs’ pancreas, but can also be plant based, often from the aspergillus fungus grown on soy or barley cultures, whose residues are removed before being sold as enzyme supplements.

We now know that most disorders are inflammatory in nature. Almost every disorder with an itis ending indicates inflammation of that part of the body, such as sinusitis, colitis, and arthritis. Enzymes reduce inflammation. Decreased enzyme activity has been found to contribute to chronic conditions such as allergies, arthritis, colitis, skin disease, diabetes, and cancer. It also results in weight gain, lethargy, inflammation, digestive impairment, and loss of skin elasticity and muscle tone—all symptoms of aging.

In 1946, Dr. James Summer, winner of the Nobel Prize, claimed that the “middle-aged feeling” was due to diminished enzymes. The work of Dr. Edward Howell, author of Enzyme Nutrition offered proof of this theory; Dr. Howell said that by age fifty, people usually have only 30 percent of their endogenous enzymes left.
Enzyme Therapy

Enzyme therapy has been used to treat arthritis, autism, autoimmune disorders, bruises, contusions, cystic fibrosis, fat intolerance, inflammation, multiple sclerosis, pain, pancreatic insufficiency, shingles, sports injuries, varicose veins, and viruses. Enzymes are the enemy of cancer; they break away cancer cells’ protective fibrin, make the cells less sticky (thus preventing metastasis), and alert the immune system to their presence. To run out of enzymes is death.

Over 3,000 enzymes have so far been identified, and researchers believe that many thousands more may yet be discovered. Including more raw enzyme rich raw foods and possibly adding an enzyme supplement can help in achieving ultimate health.

เอนไซม์บำบัด (Enzyme Therapy)


เอนไซม์บำบัด (Enzyme Therapy)


เอนไซม์เป็นสารกลุ่มโปรตีนที่ร่างกายได้รับจาการรับประทานอาหารและสร้างขึ้นเอง ซึ่งเอนไซม์เหล่านี้มีอยู่ก่อนที่ร่างกายจะมีปฏิกิริยาเคมีใดๆ เกิดขึ้น แม้กระทั่งวิตามิน แร่ธาตุ หรือฮอร์โมนก็ไม่สามารถทำงานได้หากไม่มีเอนไซม์ เอนไซม์มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังขยายสูงสุดแล้วก็ตามเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเป็นพลังแห่งการขับเคลื่อนที่ทำให้เราสามารถทำงานต่างๆ ได้อย่างมีสุขภาพดี หรือกล่าวได้ว่าเราไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้หากขาดเอนไซม์


แหล่งผลิตเอนไซม์

เอนไซม์ที่ใช้ในขบวนการเผาผลาญพลังงาน (Metabolize Enzyme) ทั้งหมดจะสร้างขึ้นในร่างกาย ซึ่งมีความสำคัญกับทุกขั้นตอนของการย่อยอาหารอายุที่มากขึ้นและความเครียดมีผลให้การสร้างเอนไซม์เหล่านี้ลดลง ส่วนเอนไซม์จากอาหาร (Food Enzyme) เช่น ผัก ผลไม้ จะคงความสามารถในการย่อยอาหารก็ต่อเมื่อยังไม่ผ่านการปรุงให้สุกเท่านั้น ที่มาอันมหัศจรรย์อีกแห่งของเอนไซม์ก็คือ เอนไซม์เสริมเพื่อช่วยย่อยอาหาร เอนไซม์เหล่านี้สกัดจากเอนไซม์ในพืช เนื่องจากการผลิตเอนไซม์ไม่สามารถทำเหมือนกับการสังเคราะห์วิตามินและแร่ธาตุ เราจึงต้องปลูกพืชแล้วผ่านนขบวนการสกัดในห้องปฏิบัติการ เอนไซม์อื่นๆ ที่บริโภคได้เป็นเอนไซม์จากสัตว์ เนื่องจากเอนไซม์จากพืชช่วยระบบย่อยอาหารได้ครบถ้วน และยังช่วยเสริมการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อ จึงทำให้เอนไซม์กลุ่มนี้มีประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่าเอนไซม์เสริมจากแหล่งอื่นๆ


ทำไมเราจึงต้องการเอนไซม์

80 เปอร์เซ็นต์ของพลังงานในร่างกายถูกใช้ไปในขบวนการย่อยอาหารหากคุณอ่อนเพลีย เครียด อยู่ในสภาวะอากาศที่ร้อนหรือเย็นจัด ตั้งครรภ์ เดินทางโดยเครื่องบินบ่อยๆ คุณจะต้องการเอนไซม์เสริมเป็นจำนวนมาก เนื่องจากกระบวนการทำงานทั้งหมดของร่างกายต้องอาศัยเอนไซม์ เราจึงต้องเสริมเอนไซม์ให้ร่างกาย อายุที่มากขึ้นเป็นสาเหตุของการผลิตเอนไซม์ที่ลดลงผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์กล่าวว่า โรคต่างๆ เกิดขึ้นจากการขาดแคลนหรือความไม่สมดุลของเอนไซม์ ดังนั้นเราทุกคนจึงไม่สามารถขาดเอนไซม์ได้


ชีวิตมีพลังด้วยธรรมชาติ

เอนไซม์ที่มหัศจรรย์เหล่านี้ทำหน้าที่สำคัญ 2 อย่าง คือ ย่อยสลายอาหารให้เล็กลงพอที่จะผ่านเซลล์ผนังลำไส้ แล้วสารอาหารเหล่านี้ก็เข้าสู่กระแสเลือดต่อไป การย่อยอาหารเป็นหนาที่สำคัญอย่างยิ่งของร่างกาย เมื่อเรารับประทานอาหาร เอนไซม์ย่อยอาหารจะถูกดึงมาจากทุกระบบของร่างกายในทันทีเพื่อทำการย่อยอาหาร

แต่ทว่าเอนไซม์ย่อยอาหารเหล่านี้ก็ยังมีหน้าที่อื่นๆอีกในการที่จะซ่อมแซม ควบคุม และกระตุ้นการทำงานของระบบอื่นๆของร่างกายด้วย แต่ระบบเหล่านี้ จำเป็นที่จะต้องหยุดทำงานชั่วคราวเพื่อส่งเอนไซม์ไปให้ระบบย่อยอาหาร วิธีแก้อย่างหนึ่งคือ รับประทานเฉพาะอาหารที่ไม่ผ่านการปรุงให้สุก อาหารก็จะมีเอนไซม์เพียงพอที่จะย่อยตัวเองอยู่แล้ว อีกวิธีคือ รับประทานเอนไซม์เสริมสกัดจากพืช บรรจุในแคปซูลหรือเอนไซม์ผง

อย่าลืมว่าการย่อยคาร์โบไฮเดรต ที่ไม่สมบูรณ์จะเกิดการหมักในลำไส้ หากเป็นอาหารกลุ่มไขมัน พวกผลิตภัณฑ์จากนม น้ำมันต่างๆ ของทอด จะเหม็นหืน และถ้าเป็นกลุ่มโปรตีน เช่นเนื้อสัตว์ ไก่ ปลา ถั่ว ต่างๆ ก็จะเน่า จึงไม่น่าแปลกใจเลยถ้าคนส่วนใหญ่ในสังคมเรานี้จะมีปัญหาเรื่อง ท้องผูก แก๊สในกระเพาะอาหาร ท้องอืด ท้องเฟ้อ ลมหายใจเหม็น

อีกบทบาทหนึ่งของเอนไซม์คือ รักษาระบบการเผาผลาญพลังงานในร่างกายให้มีประสิทธิภาพสูงสุด อันได้แก่ สลายไขมัน ลำเลียงอาหารเข้าสู่เซลล์ แจกจ่ายพลังงานไปยังเซลล์ที่ต้องการ ทุกกลไกของร่างกายตั้งแต่การสร้างกล้ามเนื้อกระดุก ต่อมต่างๆ และเส้นประสาท ไปจนถึงการกำจัดพิษออกจากร่างกาย ล้วนต้องอาศัยการทำงานของเอนไซม์ทั้งสิ้น จึงอาจกล่าวได้ว่าเอนไซม์เป็นอุปกรณ์ช่วยชีวิตจากธรรมชาติ


จะทราบได้อย่างไรว่าเราขาดเอนไซม์

อาการที่เด่นชัดของการย่อยอาหารที่ไม่ดี คือ การเรอ มีแก๊ส จุกเสียด วิงเวียน ท้องผูก รู้สึกเหนื่อยหลังทานอาหาร แพ้อาหาร อีกวิธีคือสังเกตว่าคุณรับประทานอาหารประเภทใดมากที่สุดรวมถึงกาเฟอีน ช็อกโกแลต น้ำตาลฟอกขาว อาหารปรุงสุก อาหารแปรรูป


คืนชีวิตใหม่ให้ระบบย่อยอาหาร

มีความผิดปกติอะไรเกิดขึ้นกับระบบย่อยอาหารของเรา ทำไมเราจึงรับประทานอาหารที่เราเคยรับประทานไม่ได้ คำถามเหล่านี้ถูกถามขึ้นเสมอ แต่ก็ยังไม่ได้รับคำตอบ ที่ว่ากันว่าร่างกายของคนเราสามารถย่อยและดูดซึมอาหารที่ปรุงสุกแล้ว ได้ดีกว่าอาหารที่ยังไม่ถูกความร้อนนั้นเป็นความเชื่อที่วันหนึ่งจะถูกพิสูจน์ว่าเป็นเรื่องที่ผิด อาหารที่ถูกความร้อนแล้วจะผ่านระบบการย่อยอาหารของเราช้ากว่าอาหารที่ยังไม่ถูกความร้อน ดังนั้นจึงทำให้อาหารเหล่านั้นบูดเน่า ก่อให้เกิดสารพิษเข้าสู่ร่างกายของเรา มีผลต่อหัวใจ ทำให้ปวดหัว มีปัญหาทางสายตา แพ้ และปัญหาอื่นๆ อีกมากมาย

เอนไซม์เสริมที่ได้จากพืชจะช่วยในการย่อยสลายอาหาร ในภาวะที่เหมาะสมจะเกิดขบวนการย่อยอาหารที่สมบูรณ์คือ

อาหารถูกย่อยอย่างสมบูรณ์
สารอาหาร ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
ของเสียจากขบวนการย่อยอาหารถูกกำจัดออกจากร่างกาย

นอกจากนี้เอนไซม์ที่ได้จากพืชนั้นมีประโยชน์มากกว่าเอนไซม์ที่ได้จากสัตว์เนื่องจากเอนไซม์จากพืชทำงานทันทีเมื่อเข้าสู่ระบบย่อยอาหารขณะที่อาหารยังอยู่ส่วนบนของกระเพาะอาหาร เอนไซม์ก็เริ่มทำงานแล้ว บางครั้งเอนไซม์เริ่มทำงานตั้งแต่อยู่ในหลอดอาหารด้วยซ้ำไป

ประสิทธิภาพของระบบย่อยอาหารของคุณขึ้นอยู่กับความสามารถของกระเพาะอาหารในการเริ่มขบวนการย่อยสลาย การที่จะมีสุขภาพที่ดีนั้นระบบย่อยอาหารของคุณต้องสามารถดูดซึมและแจกจ่ายออกไปได้ทั่วร่างกาย ส่วนแก๊สในทางเดินอาหาร เรารู้ว่าคาร์โบไฮเดรต สามารถเกิดการหมัก ไขมันเกิดการเหม็นหืน โปรตีนเกิดการเน่าเสีย สิ่งเหล่านี้เกิดจากการย่อยสลายอาหารที่ไม่สมบูรณ์

ปัญหาใหญ่ของอาหารที่ไม่ถูกย่อยสลายคือ มันจะไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกายและสะสมเป็นของเสีย ทำให้เกิดปัญหาไขมันสูง มีแคลเซียมไปเกาะตามส่วนต่างๆ โรคไขข้อ มีเซลลูไลท์เกิดขึ้น ไขมันอุดตันในเส้นเลือด เป็นต้น


การสลายพิษและเพิ่มเสริม / การฟอกเลือดและลดคลอเลสเตอรอล

การสลายพิษ (detoxify) หมายถึง การทำลายหรือต่อต้านพิษในร่างกายเรา ในอดีตต้องอาศัย 2 ขบวนการ ขบวนการแรกคือ ต้องทำลายพิษโดยการยุติการรับประทาน (การอดอาหาร) ซึงมักจะทำให้เกิดอาการเหมือนเป็นไข้หวัด เช่นตัวร้อน เพลีย ปวดเมื่อย ขบวนการต่อมาคือต้องเพิ่มอาหารบำรุงให้แก่ร่างกาย แต่ถ้าใช้เอนไซม์เราจะขจัดพิษและบำรุงร่างกายไปพร้อมๆกันโดยไม่มีผลข้างเคียง

การใช้เอนไซม์จะกำจัดความรู้สึกที่ไม่สบายที่มาพร้อมกับการกำจัดพิษ ทำให้เรารู้สึกสบายและมีพลังระดับสูง เป็นวิธีที่ ทำให้ร่างกายเราสวยงามและเป็นวิธีล้างและส่งเสริมร่างกาย

เมื่อเราแก่ตัวขึ้น ร่างกายเราไม่สามารถกำจัดสารพิษจากเลือดและอวัยวะให้มีประสิทธิภาพถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ ระบบน้ำเหลืองกรองพวกสารที่ร่างกายไม่ต้องการออก เช่น เม็ดเลือดขาวจะทำลายแบคทีเรียและตัวมันเองก็ตายพร้อมแบคทีเรีย ระบบต่อมน้ำเหลืองนำเศษเซลล์เหล่านี้ไปที่ต่อมน้ำเหลืองเพื่อสลายให้เป็นสารที่ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ เพื่อนำมาใช้ใหม่ มีจำนวนคนนับล้านที่พยายามหาวิธีช่วยร่างกายกำจัดสารพิษ เช่น การบริโภคอาหาร Macrobiotic รับประทานอาหารเจ อดอาหาร หรือใช้สมุนไพร วิธีเหล่านี้ช่วยได้บ้างโดยเฉพาะการใช้สมุนไพร อย่างไรก็ตามสิ่งที่ขาดหายไป คือ เอนไซม์ ถ้าเราบริโภคเอนไซม์สม่ำเสมอจะช่วยทำให้เลือดบริสุทธิ์ โดยสลายโปรตีนเศษของเซลล์ และสารพิษชนิดอื่นๆ เมื่อเลือดอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ร่างกายเราก็สามารถที่จะซ่อมแซมตัวเองและสะสมแหล่งของเอนไซม์ ผลสุดท้ายคือร่างกายอยู่ในสภาพสมดุล ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

การรับประทานเอนไซม์ไปพร้อมกับอาหารจะช่วยให้อาหารย่อยได้ดีขึ้นและทำให้มีการนำอาหารพวกนี้เข้าไปในร่างกาย ถ้ารับประทานเอนไซม์ระหว่างมื้อจะช่วยสลายอาหารที่ไม่ถูกย่อย เพาะฉะนั้นเอนไซม์สำคัญมากในการรักษาโรคอ้วน ผู้ที่มีน้ำหนักเกินไม่สามารถระงับความอยากอาหารเลยทำให้รับประทานอาหารที่มีแครอรี่สูง แต่ไม่มีประโยชน์ทางโภชนาการ ซึ่งทำลายระบบภูมิคุ้มกันรวมกับระบบอื่นๆในร่างกาย เอนไซม์จากพืชเป็นวิธีแก้ปัญหาเหล่านี้และป้องกันไม่ให้เราทำลายตัวเองอีกต่อไป

วันพฤหัสบดีที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

[บทความ] เอนไซม์ คืออะไร ?



เอนไซม์ คืออะไร ?

เอนไซม์คือโปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต โดยเอนไซม์จะเข้าไปจับกับสารตั้งต้น (Substrate) แบบจำเพาะเจาะจงเสมือนกับแม่กุญแจที่ใช้ได้กับลูกกุญแจเพียงแบบเดียวเท่านั้น และเอนไซม์จะเปลี่ยนสารตั้งต้นให้เป็นสารที่ถูกแปรสภาพแล้ว (Product) ได้อย่างรวดเร็วขึ้น กว่าที่จะเกิดเองตามธรรมชาติโดยปราศจากเอนไซม์ ทำให้สิ่งมีชีวิตสามารถใช้ประโยชน์จากปฏิกิริยาเคมีได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ และสามารถทำให้ดำรงชีวิตอยู่ได้

เอนไซม์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่

เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ย่อยอาหาร (Digestive Enzyme) เช่น เอนไซม์อะไมเลส (Amylase) มีหน้าที่ย่อยแป้งหรือคาร์โบไฮเดรตให้เป็นน้ำตาล เอนไซม์ โปรตีเอส (Protease) ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนให้เป็นกรดอะมิโน และเอนไซม์ไลเปส (Lipase) ทำหน้าที่ย่อยไขมันให้อยู่ในรูปกรดไขมัน ทำให้ร่างกายสามารถดูดซึมเอาน้ำตาล กรดอะมิโน และกรดไขมันเพื่อให้ร่างกายนำไปใช้ได้

เอนไซม์อีกประเภทหนึ่งทำหน้าที่ในกระบวนการเมตา-บอลิซึ่ม (Metabolism) ซึ่งเป็นขบวนการที่ร่างกายใช้เพื่อเผาผลาญอาหารให้ได้พลังงาน รวมถึงการสร้างเสริมร่างกายและป้องกันโรค เอนไซม์ประเภทนี้เรียกว่า “เมตาบอลิคเอ็นโซม์” (Metabolic Enzyme)

อวัยวะและเนื้อเยื่อทุกส่วนจะมีเมตาบอลิกเอนไซม์ ที่จำเพาะเจาะจงของอวัยวะและเนื้อเยื่อแต่ละส่วน และจะทำหน้าที่แตกต่างออกไปจากอวัยวะและเนื้อเยื่อส่วนอื่น ในหลอดโลหิตแดง มีเอนไซม์อยู่ถึง 98 ชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมีหน้าที่จำเพาะแตกต่างกันไป อวัยวะทุกส่วนของร่างกายทำงานได้เนื่องจากการทำงานของ เมตาบอลิกเอนไซม์ และเอนไซม์เหล่านี้จะนำโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต มาสร้างเป็นร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ และทำงานได้อย่างเป็นปกติ เมตาบอลิกเอนไซม์ในร่างกายมีอยู่จำนวนมากมาย ในปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดทราบว่า ร่างกายต้องใช้เอนไซม์กี่ชนิด เพื่อให้การทำงานของหัวใจ สมอง ปอด ไต และอวัยวะอื่นๆ ทำงานได้อย่างปกติ และมีร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ นอกจากนี้ยังไม่สามารถค้นพบหน้าที่ของเอนไซม์อีกจำนวนมากในร่างกาย

เอนไซม์เป็นเสมือนแรงงานของร่างกายที่ทำงานในระบบเมตาบอลิซึม เอนไซม์ทำงานเพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย ให้สามารถรักษาสุขภาพของร่างกายให้แข็งแรงและรักษาโรคได้อย่างรวดเร็ว หากร่างกายปราศจากเอนไซม์ ร่างกายก็จะเป็นเพียงเสมือนเคมีกองโตที่ไร้ชีวิต เอนไซม์เป็นสสารที่ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตขึ้นได้ เอนไซม์มีความจำป็นต่อทุกปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในร่างกายมนุษย์ เกลือแร่ วิตามิน และฮอร์โมน จะไม่สามารถทำงานได้ หากปราศจากเอนไซม์ ร่างกายมนุษย์ อวัยวะ เนื้อเยื่อ และเซลล์ ถูกควบคุมโดยการทำงานของเมตาบอลิคเอนไซม์ เอนไซม์เปรียบเสมือนแรงงานที่ทำหน้าที่สร้างร่างกายขึ้นจากโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน เสมือนกับแรงงานที่สร้างบ้าน หากมีอุปกรณ์แต่ไม่มีช่างก่อสร้างก็ไม่สามารถจะสร้างบ้านขึ้นได้

สิ่งมีชีวิต ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ หากปราศจากเอนไซม์ เอนไซม์เปลี่ยนอาหารที่เรารับประทานเข้าไปให้เป็นโครงสร้างทางเคมีที่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ในระบบย่อยอาหาร และเข้าสู่กระแสเลือดได้ นอกจากนี้เอนไซม์ยังช่วยเปลี่ยนอาหารให้เป็นกล้ามเนื้อ กระดูก เส้นประสาท และต่อมต่างๆ เอนไซม์ในตับจะช่วยเก็บอาหารส่วนที่เหลือใช้ เพื่อถนอมเป็นพลังงาน และวัตถุดิบที่จำเป็นในภายหน้า เอนไซม์ยังช่วยไต ปอด ตับ ผิวหนัง และลำไส้ ในการขับถ่ายของเสีย นอกจากนี้ยังมีเอนไซม์ที่ช่วยรวมธาตุเหล็กประกอบลงไปในเม็ดเลือดแดง ช่วยทำให้เกิดการแข็งตัวของเลือด ทำให้เลือดหยุดไหล เมื่อเกิดบาดแผล และอื่นๆอีกมากมาย อาจเป็นการง่ายขึ้นหากจะกล่าวถึงกระบวนการที่ไม่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์ เนื่องจากเอนไซม์เกี่ยวข้องกับทุกระบบในร่างกาย การหายใจ การนอนหลับ การรับประทานอาหาร การทำงาน และกระบวนการคิดของร่างกายขึ้นอยู่กับเอนไซม์

ตับอ่อน เป็นอวัยวะที่ผลิตเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารมากที่สุด ตับอ่อนได้รับวัตถุดิบที่จะนำมาผลิตเอนไซม์จากกระแสเลือด หรือจากเซลล์ของร่างกาย ตับอ่อนผลิตเอนไซม์ที่สำคัญในกระบวนการย่อยอาหาร ได้แก่เอนไซม์อะไมเลส เอนไซม์โปรตีเอส และเอนไซม์ไลเปส แม้ว่าตับอ่อนจะผลิตเหล่านี้ในปริมาณมาก แต่เราควรคำนึงถึงเอนไซม์ที่มีอยู่ในอาหารเพื่อช่วยในกระบวนการย่อยอาหาร ร่วมกับเอนไซม์ในร่างกายด้วย