วันอังคารที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2556

[บทความ] อาหารต้านมะเร็ง

 http://cosozo.com/sites/default/files/styles/article_body/public/images/radio/fruitnveg.jpg

[บทความ] อาหารต้านมะเร็ง
Cr. - Good health


1. ผัก - ผักมีกากใยปริมาณมาก ซึ่งผักที่อุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระและสารต้านมะเร็ง ได้แก่

v กลุ่มผักมีสี เช่น บีทรูท ผักโขม แครอท มะเขือเทศ ยิ่งมีสีเข้มมมากเท่าไหร่ นั่นหมายถึงว่ามีสารที่มีประโยชน์ (phytochemical) มากขึ้นเท่านั้น รงควัตถุเหล่านี้ได้แก่ ไบโอฟลาวินอยด์ 20,000 ชนิด และแคโรทีนอยด์ 800 ชนิด ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยปกป้องร่างกายและยังช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันในการทำลายเซลล์มะเร็ง

v กลุ่มกะหล่ำ เช่น กะหล่ำปลี บร็อคโคลี กะหล่ำดอก ในผักชนิดนี้จะมีสารต้านมะเร็ง สารที่ช่วยขจัดสารพิษ ตลอดจน อินดอล-3-คาร์บินอลและซัลโฟราเฟน

v หัวหอม&กระเทียม – ประกอบด้วยไบโอฟลาวินอยด์หลายชนิดด้วยกัน หนึ่งในนั้นได้แก่ เคอร์ซิทิน ซึ่งสามารถเปลี่ยนเซลล์มะเร็งให้เป็นเซลล์ปกติได้ นอกจากนี้ยังมีสารต้านมะเร็งอื่นๆ ได้แก่ อัลลิซิน , เอส-อัลลิล ซิสทีอิน, ซีลีเนียม และสารที่เรายังไม่รู้จักอีกมากมาย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องดี ที่เราจะรับประทานกระเทียมและหัวหอม เป็นประจำ

2. ปลาน้ำเย็น เช่น แซลมอน คอท แมคเคอเรล ซาร์ดีน ทูน่าและปลาจากทะเลน้ำลึก ในปลา เหล่านี้จะอุดมไปด้วยไขมันที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็ง ได้แก่ EPA (eicosapentaenoic acid) และ DHA ( docosahexaenoic acid) ซึ่งชะลอการแพร่ของมะเร็ง กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน และยังประกอบด้วยแร่ธาตุต่างๆที่พบในน้ำทะเล แต่ไม่พบในดิน

3. ถั่ว เช่น ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วดำ ถั่วแดง ถั่วลิสง ในถั่วเหล่านี้พบว่ามีสารต้านโปรตีเอสในปริมาณสูง(มีฤทธิ์ต้านมะเร็ง) นอกจากนี้ยังพบว่ามีอินโนซิทอล เฮกซาฟอสเฟต(กรดไฟตริก ซึ่งในท้องตลาด จะขายในรูปของ IP-6) และจีเนสเตอิน (ทำให้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงเซลล์มะเร็งตีบลง) นอกจากนี้ในถั่วยังอุดมไปด้วยกากใยที่สามารถละลายน้ำได้ ซึ่งจะช่วยในขบวนการทำความสะอาดของร่างกายตามธรรมชาติ

4. เมล็ดธัญพืช เช่นข้าว โอ๊ต บาร์เลย์ ข้าวโพด ข้าวสาลี เนื่องจากเมื่อกากใยของพืชเหล่านี้แตกตัวที่ลำไส้จะเปลี่ยนเป็นกรดบิวไทริกที่มีฤทธิ์ต้านมะเร็ง

5. สาหร่ายทะเล จะประกอบด้วยสารบางชนิดที่ป้องกันการติดเชื้อในทางเดินอาหาร และยังประกอบด้วยกากใยชนิดพิเศษที่สามารถละลายน้ำได้ซึ่งจะเป็นตัวกลางในการนำไขมันอันตราย สารอนุมูลอิสระ สารพิษต่างๆออกจากลำไส้ นอกจากนี้สาหร่ายทะเลยังเป็นแหล่งของแร่ธาตุอย่างดีจากน้ำทะเล

6. เบอร์รี่ เช่น ราสเบอร์รี่ สตรอเบอร์รี่ บลูเบอร์รี่ เชอร์รี่ เบอร์รี่สีดำ เพราะในเบอร์รี่จะมีสารต้านมะเร็งในปริมาณสูง และยังมีกรดอัลลาจิกที่จะทำลายเซลล์มะเร็งให้ตาย

7. โยเกิร์ต เนื่องจากในโยเกิร์ตจะมีแบคทีเรียชนิดแลคโตบาซิลัส ที่สามารถหมักนมให้เป็นสารที่มีประโยชน์ต่อทางเดินอาหารและระบบภูมิคุ้มกัน และเนื่องจากกว่า 80% ของระบบภูมิคุ้มกันจะอยู่ที่ทางเดินอาหาร ดังนั้นโยเกิร์ตจึงเป็นอาหารที่จัดว่าเป็นยาอายุวัฒนะที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับร่างกายในการป้องการติดเชื้อและยังช่วยต้านมะเร็งอีกด้วย

8. ชาเขียว ประกอบด้วยคาเทชินและสารเคมีในพืชอีกหลายชนิดด้วยกัน จากงานวิจัยของสถาบันมะเร็งแห่งชาติประเทศญี่ปุ่นและจีน พบว่าชาเขียวสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งและยังสามารถเปลี่ยนเซลล์มะเร็งให้เป็นเซลล์ปกติได้

หมายเหตุ การดื่มชาเขียวให้ได้รับประโยชน์เต็มที่นั้น ต้องดื่มทันทีหลังจากชงเสร็จ เนื่องจากถ้าทิ้งไว้ชาเขียวจะทำปฎิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ ทำให้สูญเสีย คุณค่าไป

9. เครื่องเทศ -มาสตาร์ด พริก พริกไท กระเทียม หัวหอม ขิง โรสแมรี่ อบเชยและเครื่องเทศอื่นๆที่ใช้ปรุงแต่งรส สามารถต้านมะเร็งและกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน

10. น้ำสะอาด - เป็นเรื่องแปลกที่กว่า 2 ใน 3 ของพื้นที่บนโลกและของร่างกายนั้นประกอบด้วยน้ำ เนื่องจากน้ำนั้นเป็นเป็นสารตัวกลางสำคัญของร่างกายที่ใช้ในขบวนการต่างๆของเซลล์ อาทิเช่น ควบคุมสมดุลกรด-ด่าง การทำความสะอาด การขจัดสิ่งสกปรก และยังนำพาสารอาหารที่มีประโยชน์เข้าสู่เซลล์ ตลอดจนนำของเสีย หรือสารพิษออกจากเซลล์อีกด้วย




[VOD & Article] Top Ten Cancer Fighting Foods./ The Anti-Cancer Diet: Foods to Fight Cancer.

https://s3.amazonaws.com/life-balance/healthyfoods-1280x800.jpg

[Article] The Anti-Cancer Diet: Foods to Fight Cancer.
Original : Sanphratawana

An anti-cancer diet is an important strategy you can use to reduce your risk of cancer. The American Cancer Society recommends, for example, that you eat at least five servings of fruits and vegetables daily and eat the right amount of food to stay at a healthy weight. In addition, researchers are finding that certain foods may be particularly useful in protecting you from cancer. Make room in your diet for the following foods and drinks to fight cancer.

Anti-Cancer Diet: Beans

Certain fruits and vegetables and other plant foods get plenty of recognition for being good sources of antioxidants, but beans often are unfairly left out of the picture. Some beans, particularly pinto and red kidney beans, are outstanding sources of antioxidants and should be included in your anti-cancer diet. Beans also contain fiber, and eating a high-fiber diet may also help reduce your risk of cancer, according to the American Cancer Society.






[VOD] Top Ten Cancer Fighting Foods.

[Article] The top 25 healthy fruits: Blueberries, apples, cherries, bananas and 21 more healthy picks.

http://www.nastol.com.ua/large/201302/41376.jpg

[Article] The top 25 healthy fruits: Blueberries, apples, cherries, bananas and 21 more healthy picks.

By Cara Rosenbloom, RD
 

This story was originally titled "A Glossary of Healthy Fruits," in the March 2008 issue. Subscribe to Canadian Living today and never miss an issue!
Few things compare to the sweetness of fresh-picked strawberries or the luscious first bite of watermelon that leaves juice dripping down your chin.

Fruits are not only delicious but healthful too. Rich in vitamins A and C, plus folate and other essential nutrients, they may help prevent heart disease and stroke, control blood pressure and cholesterol, prevent some types of cancer and guard against vision loss. They're so good for you that Health Canada recommends that most women get seven or eight servings of fruit and vegetables each day.






http://aww.ninemsn.com.au/img/living/homeandgarden/0912/berries.jpg

If it's the vitamins that promote good health, you may wonder if you can just pop supplements. Nope. Sun-drenched peaches and vine-ripened grapes contain more than just vitamins; they're a complex combination of fibre, minerals, antioxidants and phytochemicals – as well as the vitamins – that work in combination to provide protective benefits. You can't get all that from a pill.

All fruits offer health benefits, but the following 25 stand out as nutrient-dense powerhouses with the most disease-fighting potential. (Note: Only the best sources of each vitamin, mineral and antioxidant are listed in the "nutritional value" section.)



 
Apple 
• Nutritional value (1 medium): 75 calories, 3 g fibre
• Disease-fighting factor: Apples contain antioxidants called flavonoids, which may help lower the chance of developing diabetes and asthma. Apples are also a natural mouth freshener and clean your teeth with each crunchy bite.
• Did you know? An apple's flavour and aroma comes from fragrance cells in apple skin, so for maximum flavour, don't peel your apple. Plus, the vitamins lie just beneath the skin.

 http://creativebeautyhealth.com/wp-content/uploads/Avocados002-2.jpg


Avocado

• Nutritional value ( ½ avocado): 114 calories, 4.5 g fibre, source of vitamin E and folate
• Disease-fighting factor: Avocados contain healthy monounsaturated fats that can help lower cholesterol levels when eaten instead of harmful saturated fats. For a heart-healthy boost, replace butter with avocado on your favourite sandwich.  
• Did you know? Babies love avocados. Their soft, creamy texture makes them easy to eat, and their high fat content helps with normal infant growth and development.

Banana
• Nutritional value (1 medium): 105 calories, 3 g fibre, source of vitamin B6, potassium and folate
• Disease-fighting factor: With 422 milligrams of potassium per banana, these sweet delights have more potassium than most fruit and may help lower blood pressure levels.
• Did you know? People with rubber latex allergies may also be allergic to bananas since the two come from similar trees and share a common protein.

Blackberry
• Nutritional value (1/2 cup/125 mL):
31 calories, 4 g fibre, rich in antioxidants
• Disease-fighting factor: Blackberries get their deep purple colour from the powerful antioxidant anthocyanin, which may help reduce the risk of stroke and cancer. Studies show that blackberry extract may help stop the growth of lung cancer cells.
• Did you know? The ancient Greeks called blackberries "gout-berries" and used them to treat gout-related symptoms.

Blueberry
• Nutritional value (1/2 cup/125 mL): 41 calories, 1.5 g fibre, rich in antioxidants
• Disease-fighting factor: Blueberries rank No. 1 in antioxidant activity when compared to 60 other fresh fruits and vegetables. Blueberries may help lower the risk of developing age-related diseases such as Parkinson's and Alzheimer's.
• Did you know? Blueberries freeze very well. Here's how: Rinse, then let berries dry in a single layer on towels. Freeze in a single layer on rimmed baking sheets. Seal in freezer-safe containers for up to one year. Use them straight from the freezer in your morning cereal, blend them into a smoothie or mix into pancake or muffin batter. (You can also buy frozen blueberries year-round.)

The serving size listed for each fruit in our glossary counts as one serving in Canada's Food Guide. The number of servings you need each day depends on your age and gender. For example, women between the ages of 19 and 50 need seven to eight servings of fruit and vegetables each day (three fruit and four vegetable servings would suffice). To determine the correct number of vegetable and fruit servings for you, visit the Health Canada website (www.hc-sc.gc.ca) at and search for "food guide."

Cantaloupe
• Nutritional value (1/2 cup/125 mL):
25 calories, less than 1 g fibre, source of vitamin A, folate and potassium
• Disease-fighting factor: Cantaloupe is high in the antioxidant beta-carotene, which may help reduce the risk of developing cataracts. Cantaloupe is a perfect diet food since it has about half the calories of most other fruits. 
• Did you know? Since bacteria can grow on the outside rind, it is important to wash cantaloupe before cutting into it. 

Cherry
• Nutritional value (1/2 cup/125 mL): 46 calories, 1.5 g fibre, rich in antioxidants
• Disease-fighting factor: Sour cherries contain more of the potent antioxidant anthocyanin than any other fruit. Anthocyanin may help reduce inflammation and ease the pain of arthritis and gout.
• Did you know? Sour cherries, commonly used in pie and jam, have more vitamin C than sweet cherries do, but much of it is lost when they are heated.

Cranberry
• Nutritional value (1/2 cup/125 mL): 25 calories, 2.5 g fibre, rich in antioxidants
• Disease-fighting factor: Cranberries are antibacterial and studies show that they can help treat and prevent urinary tract infections. Recent research has also linked cranberries to the prevention of kidney stones and ulcers.
• Did you know? Unsweetened cranberry juice makes an excellent mouthwash – studies show it can help kill bacteria and fight cavities.


http://img.21food.com/20110609/product/1212132002109.jpg


Dried Figs

• Nutritional value (2 dried figs): 42 calories, 1.5 g fibre, source of potassium, calcium and iron
• Disease-fighting factor: High in fibre, figs may help reduce the risk of heart disease.
• Did you know? Puréed figs make an excellent substitute for fat (like butter or oil) in baked goods. Simply purée 1 cup (250 mL) of dried figs with 1/4 cup (50 mL) of water, then replace half of the fat called for in the recipe with an equal amount of the fig mixture.
 






http://www.puregoodness.net/wp-content/uploads/2011/12/goji.jpg
 
Goji berry

• Nutritional value (1/2 cup/125 mL): 90 calories, 2.5 g fibre, source of vitamin A,
rich in antioxidants
• Disease-fighting factor: Goji berries are a nutrient powerhouse, containing six vitamins, 21 minerals and a slew of antioxidants. They have been linked to the prevention of diabetes and cancer, but more research is needed to understand their effects.
• Did you know? Dried goji berries, which look like dried cranberries, can be found in most health food and bulk stores.
Note: Health Canada has warned people using the prescription drug Warfarin to avoid goji berries, because they can alter the drug’s effectiveness. 

Frozen fruit
If your favourite fresh fruit is only available for six weeks of the year, head to the frozen food aisle. Grocery store freezers house a variety of affordable frozen fruit, ranging from cubed mango to woodland blueberries to tropical fruit salad.

Not only is frozen fruit convenient, but it's also equally nutritious – if not more so – than its fresh counterpart. Fresh fruit starts to lose nutrients as soon as it's picked. The time between harvest and consumption can be long enough for significant nutrient losses to occur. Frozen fruit, however, is picked and frozen immediately, retaining much of the nutrient value. Plus, since frozen fruit is already washed, peeled and cut, it's a breeze to use. It can be thawed at room temperature or defrosted in the microwave. Once defrosted, eat it as you would fresh fruit, or use it atop cereal, mixed in yogurt or blended into smoothies.

Grape
• Nutritional value (1/2 cup/ 125 mL): 53 calories, less than 1 g fibre, source of manganese
• Disease-fighting factor: Grapes contain resveratrol, an antioxidant that may help prevent heart disease by reducing blood pressure levels and lowering the risk of blood clots. Resveratrol may also help stop the spread of breast, stomach and colon cancer cells.
• Did you know? You can freeze red and green grapes and use them as colourful ice cubes in your favourite drinks. They add a special touch to sparkling water or Champagne.


http://healthbenefitstimes.com/9/uploads/2012/09/pink-grapefruit.jpg

Grapefruit (pink)

• Nutritional value (1/2 grapefruit): 52 calories, 2 g fibre, source of vitamin A
• Disease-fighting factor: Pink grapefruit contains lycopene and flavonoids, which may help protect against some types of cancer. Grapefruit also boasts an ample supply of pectin, a soluble fibre that may help lower cholesterol levels.
• Did you know? Grapefruit can heighten the effect of certain drugs, including cholesterol-lowering statins. Check with your pharmacist to see if grapefruit may interfere with any of your medications. 

http://www.onlyfoods.net/wp-content/uploads/2012/06/Kiwi-Fruit.jpg

Kiwifruit

• Nutritional value (1 large): 56 calories, 3 g fibre, source of vitamins C and E, and of magnesium and potassium
• Disease-fighting factor: With more vitamin C than oranges, kiwis can help in the development and maintenance of bones, cartilage, teeth and gums. They can also help lower blood triglyceride levels (high triglycerides increase the risk of heart disease).
• Did you know? Most people remove the fuzzy skin, but kiwis can actually be eaten whole – skin and all.

Mango
• Nutritional value (1/2 medium): 54 calories, 1.5 g fibre, source of vitamins A and E
• Disease-fighting factor: Mangoes are high in the antioxidants lutein and zeaxanthin, which may help protect vision and reduce the risk of age-related macular degeneration (the leading cause of blindness in adults).
• Did you know? Mangoes can be enjoyed ripe as a sweet, juicy dessert choice or unripe as a sour, crunchy addition to chutney and salads.

Orange
• Nutritional value (1 medium): 62 calories, 3 g fibre, source of vitamin C, folate and potassium
• Disease-fighting factor: Oranges are a good source of folate, an important vitamin for pregnant women that can help prevent neural tube defects in their infants. They also contain a phytochemical called hesperidin, which may lower triglyceride and blood cholesterol levels.
• Did you know? The edible white part of the orange rind has nearly the same amount of vitamin C as the flesh, so eat that part too!

Papaya
• Nutritional value (1/2 medium): 59 calories, 3 g fibre, source of folate, vitamins A and C
• Disease-fighting factor: Papayas contain papain, an enzyme that aids digestion. Plus, their high vitamin A content aids in maintaining the health of the skin.
• Did you know? The black seeds inside the papaya are edible and have a sharp, spicy flavour. Try blending them into salad dressing as a substitute for black pepper.

Peach
• Nutritional value (1 medium): 58 calories, 2 g fibre, source of vitamin A 
• Disease-fighting factor: High in vitamin A, peaches help regulate the immune system and can help fight off infections.
• Did you know? Peaches do not get any sweeter once they have been picked, so avoid buying underripe peaches.

Pear
• Nutritional value (1 medium): 96 calories, 5 g fibre 
• Disease-fighting factor: Much of the fibre found in pears is soluble, which can help prevent constipation. Soluble fibre may also help reduce blood cholesterol levels and prevent heart disease. 
• Did you know? Unlike most other fruits, pears don't ripen well on the tree. Instead, pears are harvested when mature and are allowed to finish ripening under controlled conditions.

Pineapple
• Nutritional value (1/2 cup/125 mL): 40 calories, 1 g fibre
• Disease-fighting factor: Pineapple contains a natural enzyme called bromelain, which breaks down protein and helps aid digestion. Bromelain may also help prevent blood clots, inhibit growth of cancer cells and speed wound healing.
• Did you know? Since bromelain breaks down protein, pineapple juice makes an excellent marinade and tenderizer for meat.




http://zkhanakhazana.files.wordpress.com/2012/02/pomegranates.jpg

Pomegranate

• Nutritional value (1/2 fruit): 53 calories, less than 1 g fibre, source of vitamin A and potassium
• Disease-fighting factor: Pomegranates contain antioxidant tannins, which may protect the heart. Studies show that daily consumption of pomegranate juice may promote normal blood pressure levels and reduce the risk of heart attacks.
• Did you know? Pomegranates contain glistening, jewel-like seeds called arils that can be pressed into juice. One medium pomegranate yields about 1/2 cup (125 mL) of juice.

Prune
• Nutritional value (3 prunes): 60 calories, 2 g fibre, source of vitamin A
• Disease-fighting factor: Prunes are a source of the mineral boron, which may help prevent osteoporosis. Prunes also impart a mild laxative effect due to their high content of a natural sugar called sorbitol. 
• Did you know? Marketers in the United States are trying to legally rename prunes "dried plums" to appeal to a younger market.


http://www.wellnesstimes.com/sites/default/files/styles/large/public/articles/WTRasberry1Main.jpg

Raspberry

• Nutritional value (1/2 cup/125 mL): 32 calories, 4 g fibre, source of folate and magnesium
• Disease-fighting factor: Raspberries are rich in ellagic acid, an antioxidant that may help prevent cervical cancer. Promising studies in animals have led researchers to believe that raspberries may also help treat esophageal and colon cancer.
• Did you know? Raspberries are so perishable that only three per cent of Canada's raspberry crop is sold fresh. The remaining berries are used to make jam, baked goods and other delicacies.

Strawberry
• Nutritional value (1/2 cup/125 mL): 23 calories, 1.5 g fibre, source of vitamin C
• Disease-fighting factor: Strawberries are rich in several antioxidants that have
anti-inflammatory properties, including helping to prevent atherosclerosis (hardened arteries) and to suppress the progression of cancerous tumours.
• Did you know? The flavour and colour of strawberries is enhanced by balsamic vinegar. For a fabulous dessert, drizzle balsamic vinegar over ripe strawberries and serve with vanilla ice cream.

Tomato
• Nutritional value (1 medium): 22 calories, 1.5 g fibre, source of vitamin A, folate and potassium
• Disease-fighting factor: Tomatoes are nature's best source of lycopene, a potent antioxidant that may help reduce cholesterol levels and protect against advanced-stage prostate cancer.
• Did you know? Tomatoes cooked with a touch of oil provide more lycopene than raw tomatoes, so a rich tomato sauce made with olive oil is a healthy choice.

Watermelon
• Nutritional value (1/2 cup/125 mL): 23 calories, less than 1 g fibre, source of vitamin A
• Disease-fighting factor: Watermelon is 92 per cent water, making it aptly named. It's a great addition to any weight-loss diet because it is low in calories and satisfies the sweet tooth.
• Did you know? Watermelon rinds and seeds are both edible. Roasted, seasoned seeds make a great snack food, and the juicy rind can be stir-fried, stewed, or pickled.

Glossary
Phytochemicals: Most of the more than 1,000 known phytochemicals have antioxidant properties that help protect our cells against disease-causing damage. Phytochemicals are often identified by their colour (for example, the purple-hued anthocyanins in blackberries and the red lycopene in tomatoes). Each colourful phytochemical provides a different health benefit to the body, so for the best protection against a variety of diseases, choose an array of colourful fruits each day.  

Free radicals: Harmful molecules that occur naturally in the body or that come from pesticides, pollution, smoking and radiation. They damage the body's cells, which can lead to cancer and heart disease.

Antioxidants: Powerful substances that can protect the body against the harmful effects of free radicals. Some of the vitamins, minerals and phytochemicals found in fruit can act as antioxidants.

[บทความ] ผลไม้ใช้ล้างพิษ


[บทความ] ผลไม้ใช้ล้างพิษ
Cr. -  fwd mail

แอปเปิ้ล เป็นผลไม้ที่ดีที่สุดสำหรับการขจัดของเสียออกจากร่างกาย สารเปกตินในแอปเปิ้ลจะช่วยนำสารพิษไปกำจัดทิ้ง ทั้งยังป้องกันไม่ให้โปรตีนในลำไส้เกิดการบูดเน่า แอปเปิ้ลยังมีเส้นใยมาก ซึ่งมันจะทำหน้าที่เป็นไม้กวาด ทำความสะอาดลำไส้ ช่วยให้ตับและระบบย่อยทำงานได้ดียิ่งขึ้น กระตุ้นน้ำย่อย นอกจากนี้ยังมีวิตามินและเกลือแร่

องุ่น เป็น สารฟอกล้างสำหรับผิวหนัง ตับ ลำไส้ และไตโดยเฉพาะ เนื่องจากองุ่นมีคุณสมบัติรักษาน้ำมูกที่จะออกมาจากเยื่อเมือกต่างๆ ในร่างกาย องุ่นยังให้พลังงานสูงและนำไปใช้ได้ง่าย เกลือแร่อุดม ดังนั้นจึงช่วยบำรุงเลือดและซ่อมสร้างเซลล์ในร่างกาย

สับปะรด มี เอนไซม์โปรเมลินสูง เอนไซม์ตัวนี้จะช่วยการทำงานของกรดไฮโดรคลอริกในกระเพาะ และช่วยทำให้ของเสียที่เป็นโปรตีนแตกตัวได้เร็วขึ้น เชื่อกันว่าสับปะรดช่วยรักษาอาการอักเสบในทางเดินอาหาร ช่วยในการซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ที่สึกหรอ ช่วยการทำงานของต่อมไร้ท่อ และช่วยกำจัดน้ำมูก

มะละกอและมะม่วง มะละกอ และมะม่วงมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่มะม่วงมีสารสำคัญน้อยกว่ามะละกอเล็กน้อย ผลไม้ทั้งสองชนิดมีเอนไซม์ชื่อปาเปน ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับน้ำย่อยเปปซินในกระเพาะอาหาร ดังนั้นมันจึงช่วยทำให้ของเสียที่เป็นโปรตีนแตกตัวได้เร็วขึ้นเช่นเดียวกับ โปรเมลิน ทั้งมะละกอและมะม่วงดีสำหรับทำความสะอาดลำไส้และช่วยย่อยอาหาร เชื่อกันว่ามะละกอยังช่วยลดอาการซึมเศร้าได้อีกด้วย

แตงโม แตง โมมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ ดังนั้นจึงช่วยฟอกล้างร่างกายได้เป็นอย่างดี ใช้รักษาแผลในกระเพาะ ลดความดันเลือดสูง ทำให้สบายท้อง น้ำคั้นจากเปลือกของแตงโมและเมล็ด หากดื่มก่อนกินเนื้อแตงโมในมื้ออาหารสักครึ่งชั่วโมงจะทำให้คุณได้ประโยชน์ สูงสุด เนื่องจากเปลือกของมันอุดมด้วยคลอโรฟิลล์ และเมล็ดอุดมด้วยวิตามิน

วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

[Article] Digestive Enzymes and Enzyme Therapy


[Article] Digestive Enzymes and Enzyme Therapy
By Brigitte Mars

In 1878, Willy Kuhne, a German physician, philosopher, and physiology professor, coined the word enzyme to indicate a biocatalyst outside the living cell. Enzymes are “living sparks,” a delicate animated force needed for life and every chemical action and reaction in the body, as well as in plants and animals.

Enzymes are made of tiny proteins, or amino acids. Enzymes help synthesize, join together, and duplicate entire chains of amino acids. Minerals, vitamins, and hormones cannot work without their presence. Breathing, blinking, circulation, sleeping, eating, digestion, nutrient absorption, thinking, moving, working, growing, blood coagulation, immunity, dreaming, sexual activity, excitement, reproduction, and sensory perception are all dependent on metabolic enzymes.
The three main sources of enzymes

The three main sources of enzymes include food enzymes, digestive enzymes and metabolic enzymes.

Enzymes that we ingest are called exogenous enzymes, meaning they come from an outside source. Exogenous enzymes help in the digestion of the foods in which they are contained. Light, heat, and pressure can deactivate them. In fact, enzymes begin being destroyed at temperatures exceeding 114 degrees Fahrenheit. In other words, they are destroyed in all cooked foods. When raw food is consumed, its enzymes assist in the preliminary digestive process, so that a large portion of the meal is partially digested before it reaches the lower stomach, and fewer endogenous enzymes and acids are needed.



For years nutritionists were taught that exogenous enzymes had no more value than their amino acid content, because stomach acid would break down the enzymes before they could be absorbed. That is no longer believed. When food is consumed, acid secretion is very low for the first thirty minutes at least. As food sits in the upper section of the stomach, the exogenous enzymes aid in their own digestion, which enables the body to do less work later. After 30 to 45 minutes, the bottom portion of the stomach opens, and the body secretes endogenous enzymes and acids. Yet, even here, exogenous enzymes are not inactivated until the acid level becomes prohibitive (which takes up to an hour). Therefore, enzymes do survive many aspects of digestion.

Enzymes made by the human body are endogenous and also referred to as digestive enzymes. They use nutrients from food, which get absorbed by the blood stream to repair the body and remove worn-out material. They operate in all tissues, organs, and cells and are essential for all bodily activity. These occur naturally in the body, are produced mainly in the pancreas, and to some degree in the stomach and small intestines. Their function is to break down carbohydrates, fats and proteins into more available nutrients.

A decrease in the quantity and quality of our endogenous enzymes is a natural result of aging. However, the typical Western lifestyle depletes the body of enzymes, thus rushing us headlong toward premature aging. Cooked food, alcohol, drugs, tobacco, carcinogenic exposure, radiation, excessive sunlight, chlorine, fluoride, many medications, and stimulants draw enzymes from our limited endogenous supply, as the body must produce more endogenous enzymes in order to process those substances.

Examples of digestive enzymes include:

Protease: breaks down protein chains into smaller amino acid chains and finally into individual amino acids. Proteases are found in the stomach and small intestines and include trypsin, chymotrypsin, peptidases, elastases, and cathepsins. Proteases are inhibited by alkaline factors such as sugars, starches, and fats.

Amylolytic enzymes (also known as amylases) are found in high concentrations in the mouth, saliva, and small intestines. Amylases help digest carbohydrates, including sucrose, maltose, and fructose.

Lipolytic enzymes (also known as lipases) are produced by the gastric juices of the stomach lining and the small intestines. Lipases digest fats, including triglycerides, phospholipids, and sterols such as cholesterol by converting them into fatty acids and glycerol. Lipases are found in high levels in mother’s milk but not in pasteurized milk or canned formulas, as pasteurization destroys lipases. Without lipases, fats are hard to digest and more likely to cause weight gain.

Lactase: breaks down milk sugars

Cellulase breaks down the bonds that occur in fibrous foods.

Enzymes cannot be synthetically reproduced. (Most of the pharmaceutical enzymes available are derived from pigs’ pancreas, but can also be plant based, often from the aspergillus fungus grown on soy or barley cultures, whose residues are removed before being sold as enzyme supplements.

We now know that most disorders are inflammatory in nature. Almost every disorder with an itis ending indicates inflammation of that part of the body, such as sinusitis, colitis, and arthritis. Enzymes reduce inflammation. Decreased enzyme activity has been found to contribute to chronic conditions such as allergies, arthritis, colitis, skin disease, diabetes, and cancer. It also results in weight gain, lethargy, inflammation, digestive impairment, and loss of skin elasticity and muscle tone—all symptoms of aging.

In 1946, Dr. James Summer, winner of the Nobel Prize, claimed that the “middle-aged feeling” was due to diminished enzymes. The work of Dr. Edward Howell, author of Enzyme Nutrition offered proof of this theory; Dr. Howell said that by age fifty, people usually have only 30 percent of their endogenous enzymes left.
Enzyme Therapy

Enzyme therapy has been used to treat arthritis, autism, autoimmune disorders, bruises, contusions, cystic fibrosis, fat intolerance, inflammation, multiple sclerosis, pain, pancreatic insufficiency, shingles, sports injuries, varicose veins, and viruses. Enzymes are the enemy of cancer; they break away cancer cells’ protective fibrin, make the cells less sticky (thus preventing metastasis), and alert the immune system to their presence. To run out of enzymes is death.

Over 3,000 enzymes have so far been identified, and researchers believe that many thousands more may yet be discovered. Including more raw enzyme rich raw foods and possibly adding an enzyme supplement can help in achieving ultimate health.

เอนไซม์บำบัด (Enzyme Therapy)


เอนไซม์บำบัด (Enzyme Therapy)


เอนไซม์เป็นสารกลุ่มโปรตีนที่ร่างกายได้รับจาการรับประทานอาหารและสร้างขึ้นเอง ซึ่งเอนไซม์เหล่านี้มีอยู่ก่อนที่ร่างกายจะมีปฏิกิริยาเคมีใดๆ เกิดขึ้น แม้กระทั่งวิตามิน แร่ธาตุ หรือฮอร์โมนก็ไม่สามารถทำงานได้หากไม่มีเอนไซม์ เอนไซม์มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ ใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังขยายสูงสุดแล้วก็ตามเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเป็นพลังแห่งการขับเคลื่อนที่ทำให้เราสามารถทำงานต่างๆ ได้อย่างมีสุขภาพดี หรือกล่าวได้ว่าเราไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้หากขาดเอนไซม์


แหล่งผลิตเอนไซม์

เอนไซม์ที่ใช้ในขบวนการเผาผลาญพลังงาน (Metabolize Enzyme) ทั้งหมดจะสร้างขึ้นในร่างกาย ซึ่งมีความสำคัญกับทุกขั้นตอนของการย่อยอาหารอายุที่มากขึ้นและความเครียดมีผลให้การสร้างเอนไซม์เหล่านี้ลดลง ส่วนเอนไซม์จากอาหาร (Food Enzyme) เช่น ผัก ผลไม้ จะคงความสามารถในการย่อยอาหารก็ต่อเมื่อยังไม่ผ่านการปรุงให้สุกเท่านั้น ที่มาอันมหัศจรรย์อีกแห่งของเอนไซม์ก็คือ เอนไซม์เสริมเพื่อช่วยย่อยอาหาร เอนไซม์เหล่านี้สกัดจากเอนไซม์ในพืช เนื่องจากการผลิตเอนไซม์ไม่สามารถทำเหมือนกับการสังเคราะห์วิตามินและแร่ธาตุ เราจึงต้องปลูกพืชแล้วผ่านนขบวนการสกัดในห้องปฏิบัติการ เอนไซม์อื่นๆ ที่บริโภคได้เป็นเอนไซม์จากสัตว์ เนื่องจากเอนไซม์จากพืชช่วยระบบย่อยอาหารได้ครบถ้วน และยังช่วยเสริมการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อ จึงทำให้เอนไซม์กลุ่มนี้มีประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่าเอนไซม์เสริมจากแหล่งอื่นๆ


ทำไมเราจึงต้องการเอนไซม์

80 เปอร์เซ็นต์ของพลังงานในร่างกายถูกใช้ไปในขบวนการย่อยอาหารหากคุณอ่อนเพลีย เครียด อยู่ในสภาวะอากาศที่ร้อนหรือเย็นจัด ตั้งครรภ์ เดินทางโดยเครื่องบินบ่อยๆ คุณจะต้องการเอนไซม์เสริมเป็นจำนวนมาก เนื่องจากกระบวนการทำงานทั้งหมดของร่างกายต้องอาศัยเอนไซม์ เราจึงต้องเสริมเอนไซม์ให้ร่างกาย อายุที่มากขึ้นเป็นสาเหตุของการผลิตเอนไซม์ที่ลดลงผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์กล่าวว่า โรคต่างๆ เกิดขึ้นจากการขาดแคลนหรือความไม่สมดุลของเอนไซม์ ดังนั้นเราทุกคนจึงไม่สามารถขาดเอนไซม์ได้


ชีวิตมีพลังด้วยธรรมชาติ

เอนไซม์ที่มหัศจรรย์เหล่านี้ทำหน้าที่สำคัญ 2 อย่าง คือ ย่อยสลายอาหารให้เล็กลงพอที่จะผ่านเซลล์ผนังลำไส้ แล้วสารอาหารเหล่านี้ก็เข้าสู่กระแสเลือดต่อไป การย่อยอาหารเป็นหนาที่สำคัญอย่างยิ่งของร่างกาย เมื่อเรารับประทานอาหาร เอนไซม์ย่อยอาหารจะถูกดึงมาจากทุกระบบของร่างกายในทันทีเพื่อทำการย่อยอาหาร

แต่ทว่าเอนไซม์ย่อยอาหารเหล่านี้ก็ยังมีหน้าที่อื่นๆอีกในการที่จะซ่อมแซม ควบคุม และกระตุ้นการทำงานของระบบอื่นๆของร่างกายด้วย แต่ระบบเหล่านี้ จำเป็นที่จะต้องหยุดทำงานชั่วคราวเพื่อส่งเอนไซม์ไปให้ระบบย่อยอาหาร วิธีแก้อย่างหนึ่งคือ รับประทานเฉพาะอาหารที่ไม่ผ่านการปรุงให้สุก อาหารก็จะมีเอนไซม์เพียงพอที่จะย่อยตัวเองอยู่แล้ว อีกวิธีคือ รับประทานเอนไซม์เสริมสกัดจากพืช บรรจุในแคปซูลหรือเอนไซม์ผง

อย่าลืมว่าการย่อยคาร์โบไฮเดรต ที่ไม่สมบูรณ์จะเกิดการหมักในลำไส้ หากเป็นอาหารกลุ่มไขมัน พวกผลิตภัณฑ์จากนม น้ำมันต่างๆ ของทอด จะเหม็นหืน และถ้าเป็นกลุ่มโปรตีน เช่นเนื้อสัตว์ ไก่ ปลา ถั่ว ต่างๆ ก็จะเน่า จึงไม่น่าแปลกใจเลยถ้าคนส่วนใหญ่ในสังคมเรานี้จะมีปัญหาเรื่อง ท้องผูก แก๊สในกระเพาะอาหาร ท้องอืด ท้องเฟ้อ ลมหายใจเหม็น

อีกบทบาทหนึ่งของเอนไซม์คือ รักษาระบบการเผาผลาญพลังงานในร่างกายให้มีประสิทธิภาพสูงสุด อันได้แก่ สลายไขมัน ลำเลียงอาหารเข้าสู่เซลล์ แจกจ่ายพลังงานไปยังเซลล์ที่ต้องการ ทุกกลไกของร่างกายตั้งแต่การสร้างกล้ามเนื้อกระดุก ต่อมต่างๆ และเส้นประสาท ไปจนถึงการกำจัดพิษออกจากร่างกาย ล้วนต้องอาศัยการทำงานของเอนไซม์ทั้งสิ้น จึงอาจกล่าวได้ว่าเอนไซม์เป็นอุปกรณ์ช่วยชีวิตจากธรรมชาติ


จะทราบได้อย่างไรว่าเราขาดเอนไซม์

อาการที่เด่นชัดของการย่อยอาหารที่ไม่ดี คือ การเรอ มีแก๊ส จุกเสียด วิงเวียน ท้องผูก รู้สึกเหนื่อยหลังทานอาหาร แพ้อาหาร อีกวิธีคือสังเกตว่าคุณรับประทานอาหารประเภทใดมากที่สุดรวมถึงกาเฟอีน ช็อกโกแลต น้ำตาลฟอกขาว อาหารปรุงสุก อาหารแปรรูป


คืนชีวิตใหม่ให้ระบบย่อยอาหาร

มีความผิดปกติอะไรเกิดขึ้นกับระบบย่อยอาหารของเรา ทำไมเราจึงรับประทานอาหารที่เราเคยรับประทานไม่ได้ คำถามเหล่านี้ถูกถามขึ้นเสมอ แต่ก็ยังไม่ได้รับคำตอบ ที่ว่ากันว่าร่างกายของคนเราสามารถย่อยและดูดซึมอาหารที่ปรุงสุกแล้ว ได้ดีกว่าอาหารที่ยังไม่ถูกความร้อนนั้นเป็นความเชื่อที่วันหนึ่งจะถูกพิสูจน์ว่าเป็นเรื่องที่ผิด อาหารที่ถูกความร้อนแล้วจะผ่านระบบการย่อยอาหารของเราช้ากว่าอาหารที่ยังไม่ถูกความร้อน ดังนั้นจึงทำให้อาหารเหล่านั้นบูดเน่า ก่อให้เกิดสารพิษเข้าสู่ร่างกายของเรา มีผลต่อหัวใจ ทำให้ปวดหัว มีปัญหาทางสายตา แพ้ และปัญหาอื่นๆ อีกมากมาย

เอนไซม์เสริมที่ได้จากพืชจะช่วยในการย่อยสลายอาหาร ในภาวะที่เหมาะสมจะเกิดขบวนการย่อยอาหารที่สมบูรณ์คือ

อาหารถูกย่อยอย่างสมบูรณ์
สารอาหาร ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
ของเสียจากขบวนการย่อยอาหารถูกกำจัดออกจากร่างกาย

นอกจากนี้เอนไซม์ที่ได้จากพืชนั้นมีประโยชน์มากกว่าเอนไซม์ที่ได้จากสัตว์เนื่องจากเอนไซม์จากพืชทำงานทันทีเมื่อเข้าสู่ระบบย่อยอาหารขณะที่อาหารยังอยู่ส่วนบนของกระเพาะอาหาร เอนไซม์ก็เริ่มทำงานแล้ว บางครั้งเอนไซม์เริ่มทำงานตั้งแต่อยู่ในหลอดอาหารด้วยซ้ำไป

ประสิทธิภาพของระบบย่อยอาหารของคุณขึ้นอยู่กับความสามารถของกระเพาะอาหารในการเริ่มขบวนการย่อยสลาย การที่จะมีสุขภาพที่ดีนั้นระบบย่อยอาหารของคุณต้องสามารถดูดซึมและแจกจ่ายออกไปได้ทั่วร่างกาย ส่วนแก๊สในทางเดินอาหาร เรารู้ว่าคาร์โบไฮเดรต สามารถเกิดการหมัก ไขมันเกิดการเหม็นหืน โปรตีนเกิดการเน่าเสีย สิ่งเหล่านี้เกิดจากการย่อยสลายอาหารที่ไม่สมบูรณ์

ปัญหาใหญ่ของอาหารที่ไม่ถูกย่อยสลายคือ มันจะไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกายและสะสมเป็นของเสีย ทำให้เกิดปัญหาไขมันสูง มีแคลเซียมไปเกาะตามส่วนต่างๆ โรคไขข้อ มีเซลลูไลท์เกิดขึ้น ไขมันอุดตันในเส้นเลือด เป็นต้น


การสลายพิษและเพิ่มเสริม / การฟอกเลือดและลดคลอเลสเตอรอล

การสลายพิษ (detoxify) หมายถึง การทำลายหรือต่อต้านพิษในร่างกายเรา ในอดีตต้องอาศัย 2 ขบวนการ ขบวนการแรกคือ ต้องทำลายพิษโดยการยุติการรับประทาน (การอดอาหาร) ซึงมักจะทำให้เกิดอาการเหมือนเป็นไข้หวัด เช่นตัวร้อน เพลีย ปวดเมื่อย ขบวนการต่อมาคือต้องเพิ่มอาหารบำรุงให้แก่ร่างกาย แต่ถ้าใช้เอนไซม์เราจะขจัดพิษและบำรุงร่างกายไปพร้อมๆกันโดยไม่มีผลข้างเคียง

การใช้เอนไซม์จะกำจัดความรู้สึกที่ไม่สบายที่มาพร้อมกับการกำจัดพิษ ทำให้เรารู้สึกสบายและมีพลังระดับสูง เป็นวิธีที่ ทำให้ร่างกายเราสวยงามและเป็นวิธีล้างและส่งเสริมร่างกาย

เมื่อเราแก่ตัวขึ้น ร่างกายเราไม่สามารถกำจัดสารพิษจากเลือดและอวัยวะให้มีประสิทธิภาพถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ ระบบน้ำเหลืองกรองพวกสารที่ร่างกายไม่ต้องการออก เช่น เม็ดเลือดขาวจะทำลายแบคทีเรียและตัวมันเองก็ตายพร้อมแบคทีเรีย ระบบต่อมน้ำเหลืองนำเศษเซลล์เหล่านี้ไปที่ต่อมน้ำเหลืองเพื่อสลายให้เป็นสารที่ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ เพื่อนำมาใช้ใหม่ มีจำนวนคนนับล้านที่พยายามหาวิธีช่วยร่างกายกำจัดสารพิษ เช่น การบริโภคอาหาร Macrobiotic รับประทานอาหารเจ อดอาหาร หรือใช้สมุนไพร วิธีเหล่านี้ช่วยได้บ้างโดยเฉพาะการใช้สมุนไพร อย่างไรก็ตามสิ่งที่ขาดหายไป คือ เอนไซม์ ถ้าเราบริโภคเอนไซม์สม่ำเสมอจะช่วยทำให้เลือดบริสุทธิ์ โดยสลายโปรตีนเศษของเซลล์ และสารพิษชนิดอื่นๆ เมื่อเลือดอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ร่างกายเราก็สามารถที่จะซ่อมแซมตัวเองและสะสมแหล่งของเอนไซม์ ผลสุดท้ายคือร่างกายอยู่ในสภาพสมดุล ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

การรับประทานเอนไซม์ไปพร้อมกับอาหารจะช่วยให้อาหารย่อยได้ดีขึ้นและทำให้มีการนำอาหารพวกนี้เข้าไปในร่างกาย ถ้ารับประทานเอนไซม์ระหว่างมื้อจะช่วยสลายอาหารที่ไม่ถูกย่อย เพาะฉะนั้นเอนไซม์สำคัญมากในการรักษาโรคอ้วน ผู้ที่มีน้ำหนักเกินไม่สามารถระงับความอยากอาหารเลยทำให้รับประทานอาหารที่มีแครอรี่สูง แต่ไม่มีประโยชน์ทางโภชนาการ ซึ่งทำลายระบบภูมิคุ้มกันรวมกับระบบอื่นๆในร่างกาย เอนไซม์จากพืชเป็นวิธีแก้ปัญหาเหล่านี้และป้องกันไม่ให้เราทำลายตัวเองอีกต่อไป

วันพฤหัสบดีที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

[บทความ] เอนไซม์ คืออะไร ?



เอนไซม์ คืออะไร ?

เอนไซม์คือโปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต โดยเอนไซม์จะเข้าไปจับกับสารตั้งต้น (Substrate) แบบจำเพาะเจาะจงเสมือนกับแม่กุญแจที่ใช้ได้กับลูกกุญแจเพียงแบบเดียวเท่านั้น และเอนไซม์จะเปลี่ยนสารตั้งต้นให้เป็นสารที่ถูกแปรสภาพแล้ว (Product) ได้อย่างรวดเร็วขึ้น กว่าที่จะเกิดเองตามธรรมชาติโดยปราศจากเอนไซม์ ทำให้สิ่งมีชีวิตสามารถใช้ประโยชน์จากปฏิกิริยาเคมีได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ และสามารถทำให้ดำรงชีวิตอยู่ได้

เอนไซม์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่

เอนไซม์ที่ทำหน้าที่ย่อยอาหาร (Digestive Enzyme) เช่น เอนไซม์อะไมเลส (Amylase) มีหน้าที่ย่อยแป้งหรือคาร์โบไฮเดรตให้เป็นน้ำตาล เอนไซม์ โปรตีเอส (Protease) ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนให้เป็นกรดอะมิโน และเอนไซม์ไลเปส (Lipase) ทำหน้าที่ย่อยไขมันให้อยู่ในรูปกรดไขมัน ทำให้ร่างกายสามารถดูดซึมเอาน้ำตาล กรดอะมิโน และกรดไขมันเพื่อให้ร่างกายนำไปใช้ได้

เอนไซม์อีกประเภทหนึ่งทำหน้าที่ในกระบวนการเมตา-บอลิซึ่ม (Metabolism) ซึ่งเป็นขบวนการที่ร่างกายใช้เพื่อเผาผลาญอาหารให้ได้พลังงาน รวมถึงการสร้างเสริมร่างกายและป้องกันโรค เอนไซม์ประเภทนี้เรียกว่า “เมตาบอลิคเอ็นโซม์” (Metabolic Enzyme)

อวัยวะและเนื้อเยื่อทุกส่วนจะมีเมตาบอลิกเอนไซม์ ที่จำเพาะเจาะจงของอวัยวะและเนื้อเยื่อแต่ละส่วน และจะทำหน้าที่แตกต่างออกไปจากอวัยวะและเนื้อเยื่อส่วนอื่น ในหลอดโลหิตแดง มีเอนไซม์อยู่ถึง 98 ชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมีหน้าที่จำเพาะแตกต่างกันไป อวัยวะทุกส่วนของร่างกายทำงานได้เนื่องจากการทำงานของ เมตาบอลิกเอนไซม์ และเอนไซม์เหล่านี้จะนำโปรตีน ไขมัน และคาร์โบไฮเดรต มาสร้างเป็นร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ และทำงานได้อย่างเป็นปกติ เมตาบอลิกเอนไซม์ในร่างกายมีอยู่จำนวนมากมาย ในปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดทราบว่า ร่างกายต้องใช้เอนไซม์กี่ชนิด เพื่อให้การทำงานของหัวใจ สมอง ปอด ไต และอวัยวะอื่นๆ ทำงานได้อย่างปกติ และมีร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ นอกจากนี้ยังไม่สามารถค้นพบหน้าที่ของเอนไซม์อีกจำนวนมากในร่างกาย

เอนไซม์เป็นเสมือนแรงงานของร่างกายที่ทำงานในระบบเมตาบอลิซึม เอนไซม์ทำงานเพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย ให้สามารถรักษาสุขภาพของร่างกายให้แข็งแรงและรักษาโรคได้อย่างรวดเร็ว หากร่างกายปราศจากเอนไซม์ ร่างกายก็จะเป็นเพียงเสมือนเคมีกองโตที่ไร้ชีวิต เอนไซม์เป็นสสารที่ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตขึ้นได้ เอนไซม์มีความจำป็นต่อทุกปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในร่างกายมนุษย์ เกลือแร่ วิตามิน และฮอร์โมน จะไม่สามารถทำงานได้ หากปราศจากเอนไซม์ ร่างกายมนุษย์ อวัยวะ เนื้อเยื่อ และเซลล์ ถูกควบคุมโดยการทำงานของเมตาบอลิคเอนไซม์ เอนไซม์เปรียบเสมือนแรงงานที่ทำหน้าที่สร้างร่างกายขึ้นจากโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน เสมือนกับแรงงานที่สร้างบ้าน หากมีอุปกรณ์แต่ไม่มีช่างก่อสร้างก็ไม่สามารถจะสร้างบ้านขึ้นได้

สิ่งมีชีวิต ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ หากปราศจากเอนไซม์ เอนไซม์เปลี่ยนอาหารที่เรารับประทานเข้าไปให้เป็นโครงสร้างทางเคมีที่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ในระบบย่อยอาหาร และเข้าสู่กระแสเลือดได้ นอกจากนี้เอนไซม์ยังช่วยเปลี่ยนอาหารให้เป็นกล้ามเนื้อ กระดูก เส้นประสาท และต่อมต่างๆ เอนไซม์ในตับจะช่วยเก็บอาหารส่วนที่เหลือใช้ เพื่อถนอมเป็นพลังงาน และวัตถุดิบที่จำเป็นในภายหน้า เอนไซม์ยังช่วยไต ปอด ตับ ผิวหนัง และลำไส้ ในการขับถ่ายของเสีย นอกจากนี้ยังมีเอนไซม์ที่ช่วยรวมธาตุเหล็กประกอบลงไปในเม็ดเลือดแดง ช่วยทำให้เกิดการแข็งตัวของเลือด ทำให้เลือดหยุดไหล เมื่อเกิดบาดแผล และอื่นๆอีกมากมาย อาจเป็นการง่ายขึ้นหากจะกล่าวถึงกระบวนการที่ไม่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์ เนื่องจากเอนไซม์เกี่ยวข้องกับทุกระบบในร่างกาย การหายใจ การนอนหลับ การรับประทานอาหาร การทำงาน และกระบวนการคิดของร่างกายขึ้นอยู่กับเอนไซม์

ตับอ่อน เป็นอวัยวะที่ผลิตเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ย่อยอาหารมากที่สุด ตับอ่อนได้รับวัตถุดิบที่จะนำมาผลิตเอนไซม์จากกระแสเลือด หรือจากเซลล์ของร่างกาย ตับอ่อนผลิตเอนไซม์ที่สำคัญในกระบวนการย่อยอาหาร ได้แก่เอนไซม์อะไมเลส เอนไซม์โปรตีเอส และเอนไซม์ไลเปส แม้ว่าตับอ่อนจะผลิตเหล่านี้ในปริมาณมาก แต่เราควรคำนึงถึงเอนไซม์ที่มีอยู่ในอาหารเพื่อช่วยในกระบวนการย่อยอาหาร ร่วมกับเอนไซม์ในร่างกายด้วย